บทสวดมนต์

 

คำบูชาพระ

อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง อะภิปูชะยามิ

อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง อะภิปูชะยามิ

อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง อะภิปูชะยามิ 


กราบพระรัตนตรัย

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ)
สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ (กราบ)

มาตา ปิตุ คุณัง อะหัง วันทามิ  (กราบ)

คุรูปัชฌายาจาริยะ คุณัง อะหัง วันทามิ   (กราบ)

 

คำอาราธนาศีล 5

มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ

ติสะระเณนะสะหะ ปัญจะ สีลานิยาจามะ

ทุติยัมปิ มะยังภันเต วิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ

ติสะระเณนะสะหะ ปัญจะ สีลานิยาจามะ

ตะติยัมปิ มะยังภันเต วิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ

ติสะระเณนะสะหะ ปัญจะ สีลานิยาจามะ

 

นมัสการ (นะโม)

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ (๓ จบ)


ไตรสรณคมน์ (พุทธัง ธัมมัง สังฆัง)

พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

ทุติยัมปิ พุทธัง สะระนัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระนัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ สังฆัง สะระนัง คัจฉามิ

ตะติยัมปิ พุทธัง สะระนัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระนัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ สังฆัง สะระนัง คัจฉามิ

บทสมาทานศีล

ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ

อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ

กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ

มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ

สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ

 

อิมานิปัญจะ สิกขาปะทานิ สะมาทิยามิ

อิมานิปัญจะ สิกขาปะทานิ สะมาทิยามิ

อิมานิปัญจะ สิกขาปะทานิ สะมาทิยามิ

สีเลนะ สุคะติง ยันติ

สีเลนะ โภคะสัมปทา

สีเลนะ นิพพุติง ยันติ

ตัสมา สีลัง วิโส ธะเย

คำขอขมาพระรัตนตรัย

สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ทวารัตเยนะ กะตัง

สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ขะมามิ ภันเตฯ


พระพุทธคุณ (อิติปิ โส)

อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติฯ

พระธรรมคุณ

สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก
ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติฯ *

(* อ่านว่า วิญญูฮีติ)

พระสังฆคุณ

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
อาหุเนยโย* ปาหุเนยโย* ทักขิเณยโย* อัญชะลี กะระณีโย
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ

(อ่านออกเสียง อาหุไนยโย ปาหุไนยโย ทักขิไณยโย โดยสระเอ กึ่งสระไอ)


พุทธชัยมงคลคาถา (พาหุงฯ)

พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ

มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ

นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ

อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ

กัตตะวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ

สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ

นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต
อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ

ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
พรัหมัง* วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ

เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา โย
วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ
โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญฯ

พรัหมัง อ่านว่า พรัมมัง

มหาการุณิโก

มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ

ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง
ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะรา
ชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก
สัพพะพุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ

สุนั ขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะ** จาริสุ ปะทักขิณัง
กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
มะโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
กัตตะวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณฯ

** พรัหมะ อ่านว่า พรัมมะ

ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เตฯ

ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เตฯ

ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เตฯ


พุทธคุณเท่าอายุ+1 (อิติปิโสเท่าอายุ+1)

อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติฯ

 

บทแผ่เมตตา

สัพเพ สัตตา สัตว์ทั้งหลาย ที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิดแก่เจ็บตาย ด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น
อะเวรา โหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรแก่กัน และกันเลย
อัพยาปัชฌา โหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้ พยาบาทเบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย
อะนีฆา โหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีความทุกข์กาย ทุกข์ใจเลย
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ จงมีความสุขกายสุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเทอญ

 

บทอุทิศส่วนกุศล (บทกรวดน้ำ)

อิทัง เม มาตาปิตูนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ มาตา ปิตะโร
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่มารดาบิดาของข้าพเจ้า ขอให้มารดาบิดาของข้าพเจ้า จงมีความสุข

อิทัง เม ญาตีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า ขอให้ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า จงมีความสุข

อิทัง เม คุรูปัชฌายาจะริยานังโหตุ สุขิตา โหนตุ คุรูปัชฌายาจะริยา
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ของข้าพเจ้า ขอให้ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ของข้าพเจ้า จงมีความสุข

อิทัง สัพพะ เทวะตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เทวา
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เทวดาทั้งหลายทั้งปวง ขอให้เทวดาทั้งหลายทั้งปวง จงมีความสุข

อิทัง สัพพะ เปตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เปตา
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่เปรตทั้งหลายทั้งปวง ขอให้เปรตทั้งหลายทั้งปวง จงมีความสุข

อิทัง สัพพะ เวรีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เวรี
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวง ขอให้เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวง จงมีความสุข

อิทัง สัพพะ สัตตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ สัตตา
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ขอให้สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง จงมีความสุข

 

คำแผ่เมตตาอุทิศส่วนกุศล

สัพเพสัตตา สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรซึ่งกันและกันเลย

สัพเพสัตตา สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้พยาบาทเบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย

สัพเพสัตตา สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีความทุกข์กาย ทุกข์ใจเลย จงมีแต่ความสุขกายสุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัย ด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้นเทอญ

 

ข้าพเจ้าขออุทิศส่วนกุศลนี้ ให้แก่คุณบิดาและมารดา คุณครูบาอาจารย์ ปู่ย่าตายาย ญาติสนิทมิตรสหาย และเจ้ากรรมนายเวรทั้งหลาย รวมทั้งท่านผู้มีพระคุณ ที่ได้ให้อาหารและปัจจัยสี่แก่ข้าพเจ้า ขอท่านผู้มีคุณทั้งหลายเหล่านั้น จงเป็นผู้มีความเจริญในธรรมของพระพุทธเจ้า คิดและหวังสิ่งใด ขอสิ่งทั้งหลายเหล่านั้น จงสมความปรารถนาทุกประการเทอญ

 

ข้าพเจ้าขออุทิศส่วนกุศลนี้ ให้แก่เทพเจ้าทั้งหลาย ที่ปกปักษ์รักษาข้าพเจ้า และเทพเจ้าทั้งหลาย ทั่วสากลพิภพ และพญายมราช, ท่านท้าวจตุโลกบาลทั้ง ๔พระธรณีพระคงคาพระเพลิงพระพายเจ้าที่-เจ้าทางเจ้าทุ่ง-เจ้าท่า-เจ้าถ้ำเจ้าป่า-เจ้าเขาเปรต,อสุรกายผีสางนางไม้สรรพสัตว์ทั้งหลาย ที่เวียนว่ายตายเกิด อยู่ในวัฏสงสาร และ ณ สถานที่แห่งนี้ ขอจงมารับกุศลผลบุญอันนี้ อันข้าพเจ้าทั้ได้กระทำแล้วด้วยดี ในครั้งนี้ด้วยเทอญ

 

ขอผลบุญนี้ จงเป็นพลวปัจจัย ส่งผลให้ ไม่ว่าข้าจะอยู่ในที่ใด เกิดในชาติไหน ๆ จงอย่าประสบ อย่าได้พบกับคำว่าไม่มี ไม่ดี ไม่ได้ ไม่สบาย ตลอดกาลเทอญ.

 

พระคาถาชินบัญชร

 

 

ในการสวด คาถาชินบัญชร เพื่อให้เกิดอานุภาพยิ่งๆ ขึ้น ก่อนจะเจริญภาวนา
จึงขอให้ตั้งนะโม 3 จบ และน้อมจิตระลึกถึงคุณพระคุณสมเด็จโต ด้วยคำบูชาดังนี้

ปุตตะกาโมละเภปุตตัง
อัตถิกาเยกายะ ญายะ 
อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน 
มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต

ธะนะกาโมละเภธะนัง
เทวานังปิยะตังสุตตะวา
ท้าวเวสสุวัณโณ 
นะโมพุทธายะ

๑.

ชะยา สะนา กะตา พุทธา
จะตุ สัจจา สะภัง ระสัง

เชตะวา มารัง สะวา หะนัง
เย ปิวิงสุ นะรา สะภา

พระพุทธเจ้าและพระนราสภาทั้งหลาย ผู้ประทับนั่งแล้วบนชัยบัลลังก์ ทรงพิชิตพระยามาราธิราชผู้พรั่งพร้อมด้วยเสนาราชพาหนะแล้ว เสวยอมตรสคือ อริยสัจธรรมทั้งสี่ประการ เป็นผู้นำสรรพสัตว์ให้ข้ามพ้นจากกิเลสและกองทุกข์ 
 

๒.

ตัณหังกะราทะโย พุทธา
สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง

อัฏฐะวีสะติ นา ยะกา
มัตถะเก เต มุนิส สะรา

มี ๒๘ พระองค์ คือ พระผู้ทรงนามว่า ตันหังกร เป็นอาทิ พระพุทธเจ้าจอมมุนีทั้งหมดนั้น
 

๓.

สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง 
สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง

พุทโธ ธัมโม ทะวิโล จะเน
อุเร สัพพะคุณา กะโร

ข้าพระพุทธเจ้าขออัญเชิญมาประดิษฐานเหนือเศียรเกล้า องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าประดิษฐานอยู่บนศรีษะ พระธรรมอยู่ที่ดวงตาทั้งสอง พระสงฆ์ผู้เป็นอากรบ่อเกิดแห่งสรรพคุณอยู่ที่อก
 

๔.

หะทะเย เม อะนุรุทโธ
โกณฑัญโญ ปิฏฐิภา คัสสะมิง

สารีปุตโต จะ ทักขิเณ
โมคคัลลาโน จะวา มะเก

พระอนุรุทธะอยู่ที่ใจ พระสารีบุตรอยู่เบื้องขวา พระโมคคัลลาน์อยู่เบื้องซ้าย พระอัญญาโกณฑัญญะอยู่เบื้องหลัง 
 

๕.

ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง
กัสสะโป จะมะหา นาโม

อาสุง อานันทะราหุโล
อุภาสุง วามะโส ตะเก

พระอานนท์กับพระราหุลอยู่หูขวา พระกัสสปะกับพระมหานามะอยู่ที่หูซ้าย 
 

๖.

เกสะโต ปิฏฐิภา คัสสะมิง
นิสินโน สิริสัม ปันโน

สุริโย วะ ปะภัง กะโร
โสภีโต มุนิปุง คะโว

มุนีผู้ประเสริฐ คือ พระโสภิตะผู้สมบูรณ์ด้วยสิริดังพระอาทิตย์ส่องแสง อยู่ที่ทุกเส้นขน ตลอดร่างทั้งข้างหน้าและข้างหลัง
 

๗.

กุมาระกัสสะโป เถโร
โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง

มะเหสี จิตตะวา ทะโก
ปะติฏฐาสิ คุณา กะโร

พระเถระกุมาระกัสสปะผู้แสวงบุญทรงคุณอันวิเศษ มีวาทะอันวิจิตรไพเราะอยู่ปากประจำ 
 

๘.

ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ
เถรา ปัญจะอิเม ชาตา

อุปาลี นันทะสี วะลี 
นะลาเต ติละกา มะมะ

พระปุณณะ พระอังคุลิมาล พระอุบาลี พระนันทะ และพระสีวลี พระเถระทั้ง ๕ นี้ จงปรากฏเกิดเป็นกระแจะจุณเจิมที่หน้าผาก
 

๙.

เสสา สีติ มะหาเถรา
เอเตสีติ มะหาเถรา
ชะลันตา สีละเต เชนะ

วิชิตา ชินะสา วะกา
ชิตะวันโต ชิโน ระสา
อังคะมังเค สุสัณ ฐิตา

ส่วนพระอสีติมหาเถระที่เหลือ ผู้มีชัยและเป็นพระโอรสเป็นพระสาวกของพระพุทธเจ้าผู้ทรงชัย แต่ละองค์ล้วนรุ่งโรจน์ด้วยเดชแห่งศีลให้ดำรงอยู่ทั่วอวัยวะน้อยใหญ่ 
 

๑๐.

ระตะนัง ปุระโต อาสิ
ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ

ทักขิเณ เมตตะสุต ตะกัง
วาเม อังคุลิมา ละกัง

พระรัตนสูตรอยู่เบื้องหน้า พระเมตตาสูตรอยู่เบื้องขวา พระอังคุลิมาลปริตรอยู่เบื้องซ้าย พระธชัคคสูตรอยู่เบื้องหลัง 
 

๑๑.

ขันธะโม ระปะริตัญ จะ
อากาเส ฉะทะนัง อาสิ

อาฏานาฏิยะสุต ตะกัง
เสสา ปาการะ สัณฐิตา

พระขันธปริตร พระโมรปริตร และพระอาฏานาฏิยสูตรเป็นเครื่องกางกั้นดุจหลังคาอยู่บนนภากาศ
 

๑๒.

ชินานา วะระสังยุตตา
วาตะปิตตาทิสัญ ชาตา

สัตตัปปาการะลัง กะตา
พาหิรัช ฌัตตุปัท ทะวา

อนึ่งพระชินเจ้าทั้งหลาย นอกจากที่ได้กล่าวมาแล้วนี้ ผู้ประกอบพร้อมด้วยกำลังนานาชนิด มีศีลาทิคุณอันมั่นคง คือ สัตตะปราการเป็นอาภรณ์มาตั้งล้อมเป็นกำแพงคุ้มครองเจ็ดชั้น
 

๑๓.

อะเสสา วินะยัง ยันตุ
วะสะโต เม สะกิจเจ นะ

อะนันตะ ชินะเต ชะสา
สะทา สัมพุทธะปัญชะเร

ด้วยเดชานุภาพแห่งพระอนันตชินเจ้า ไม่ว่าจะทำกิจการใดๆ เมื่อข้าพระพุทธเจ้าเข้าอาศัยอยู่ในพระบัญชรแวดวงกรงล้อมแห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ขอโรคอุปัทวทุกข์ทั้งภายนอกและภายใน อันเกิดแต่โรคร้าย คือ โรคลมและโรคดีเป็นต้น เป็นสมุฏฐาน จงกำจัดให้พินาศอย่าให้เหลือ
 

๑๔.

ชินะ ปัญชะระ มัชฌัมหิ
สะทา ปาเลนตุมัง สัพเพ

วิหะรันตัง มะฮีตะเล
เต มะหาปุริสา สะภา

ขอพระมหาบุรุษ ผู้ทรงพระคุณอันล้ำเลิศทั้งปวงนั้น จงอภิบาลข้าพระพุทธเจ้า ผู้อยู่ในภาคพื้น ท่ามกลางพระชินบัญชร ข้าพระพุทธเจ้าได้รับการคุ้มครองปกปักรักษาภายในเป็นอันดี ฉะนี้แล 
 

๑๕.

อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
ธัมมานุภาเวนะ ชิตา ริสังโฆ
สัทธัมมานุภาวะ ปาลิโต

ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว 
สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะ ราโย
จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ ฯ

ข้าพระพุทธเจ้าได้รับการอภิบาลด้วยคุณานุภาพแห่งสัทธรรม จึงชนะเสียได้ซึ่งอุปัทวอันตรายใดๆ ด้วยอานุภาพแห่งพระชินะพุทธเจ้า ชนะข้าศึกศัตรูด้วยอานุภาพแห่งพระธรรม ชนะอันตรายทั้งปวงด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ ขอข้าพระพุทธเจ้าจงได้ปฏิบัติ และรักษาดำเนินไปโดยสวัสดีเป็นนิจนิรันดรเทอญฯ



คาถาเงินล้าน


สัมปะจิตฉามิ

(คาถาสนองกลับ )

นาสังสิโม พรหมมา จะ มหาเทวา สัพเพยักขา ปะรายันติ ,

(คาถาปัดอุปสรรค)

พรหมมา จะ มหาเทวา อะภิลาภา ภะวันตุ เม,

(คาถาเงินแสน)

มะหาปุญโญ มหาลาโภ ภะวันตุ เม,

(คาถาลาภไม่ขาดสาย)

มิเตพาหุหะติ

(คาถาเงินล้าน)

พุทธะมะอะอุ นะโมพุทธายะ ,วิระทะโย วิระโคนายัง

(คาถาวิระทะโย)

วิระหิงสา วิระทาสี วิระทาสา วิระอิตถิโย พุทธัสสะ

 

มานีมามะ พุทธัสสะ สวาโหม

(คาถาพระปัจเจกพุทธเจ้า)

สัมปะติจฉามิ

(คาถาเร่งลาภให้ได้ผลเร็ว)

เพ็งๆ พาๆ หาๆ ฤาๆ

คาถามหาลาภ )

 

โพชฌังคปริตตัง

โพชฌังโค สะติสังขาโต ธัมมานัง วิจะโย ตะถา
วิริยัมปีติ ปัสสัทธิโพชฌังคา จะ ตะถาปะเร สะมาธุเปกขะ
โพชฌังคา สัตเตเต สัพพะทัสสินา มุนินา สัมมะทักขาตา 
ภาวิตา พะหุลีกะตา สังวัตตันติ อะภิญญายะ นิพพานายะ 
จะ โพธิยา เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ฯ
เอกัสมิง สะมะเย นาโถ โมคคัลลานัญจะ 
กัสสะปัง คิลาเน ทุกขิเต ทิสวา โพชฌังเค สัตตะ เทสะยิ 
เต จะ ตัง อะภินันทิตวา โรคา มุจจิงสุ ตังขะเณ เอเตนะ 
สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทาฯ เอกะทา 
ธัมมะราชาปิ เคลัญเญ นาภิปีฬิโต จุนทัตเถเรนะ ตัญเญวะ 
ภะณาเปตวานะ สาทะรัง สัมโมทิตวา จะ อาพาธา ตัมหา 
วุฏฐาสิ ฐานะโส เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ
สัพพะทา ฯ ปะหีนา เต จะ อาพาธา ติณณันนัมปิ 
มะเหสินัง มัคคาหะตะกิเลสา วะ ปัตตานุปปัตติธัมมะตัง 
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ฯ 

 

คำถวายสังฆทาน (ถวายเพื่อความสุขความเจริญ )


"อิมานิ มะยัง ภันเต ภัตตานิ สะปะริวารานิ ภิกขุสังฆัสสะ โอโณชะยามะ สาธุโน ภันเต 
ภิกขุ สังโฆ   อิมานิ ภัตตานิ สะปะริวารนิ ปะฏิคคัณหาตุ อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ

ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลายขอน้อมถวาย ซึ่งภัตตาหารกับของที่เป็นบริวาร 
ทั้งหลายเหล่านี้แด่พระสงฆ์ ขอพระสงฆ์จงรับซึ่งภัตตาหารกับของ ที่เป็นบริวารทั้งหลายเหล่านี้ เพื่อประโยชน์ เพื่อความสุขแก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนานเทอญ

   

 

 

 

 

 

Make a free website with Yola